USB Sound Card เป็นอุปกรณ์ที่จะช่วยให้คุณนั้นสามารถที่จะทำการแปลงจากสัญญาณอนาล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตอลได้หรือการใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการคุณภาพของเสียงที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มี Sound Card หรือ Sound Card เสียโดยจะใช้งานในการเชื่อมต่อผ่านทางพอร์ต USB ซึ่งเป็นพอร์ตการเชื่อมต่อแบบอเนกประสงค์ที่จะช่วยให้คุณสามารถที่จะทำการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆได้โดย Sound Card แบบ USB นั้นจะมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า Sound Card แบบ on board เนื่องจากว่าพวกมันนั้นจะมีการออกแบบมาให้มีการใช้งานและมีการใช้ชิปในการประมวลผลเสียงที่มีประสิทธิภาพที่ดีมากกว่าชีวิตที่มาพร้อมกับตัวเครื่องนั่นเอง.
โดยคุณสามารถที่จะทำการเลือกซื้อ Sound Card แบบ USB คุณภาพสูงมาใช้งานได้ตามงบประมาณที่คุณต้องการและความต้องการคุณภาพเสียงที่คุณต้องการที่จะนำมาใช้งานร่วมด้วยนั่นเองและ Sound Card แบบ USB นั้นยังสามารถที่จะติดตั้งได้ง่ายใช้งานได้สะดวกสบายเมื่อเปรียบเทียบกันกับซาวด์การ์ดแบบอื่น
Sound Card คืออะไร?
ทำไมคุณถึงจำเป็นจะต้องใช้ Sound Card ร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ Sound Card นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้คุณสามารถที่จะทำการเชื่อมต่อกับลำโพงหรือหูฟังเพื่อที่จะทำการแปลงสัญญาณจากดิจิตอลที่ได้จากการถอดรหัสของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อกเพื่อที่จะทำการนำมาขับให้กับตัวลำโพงแล้วจะทำให้คุณสามารถที่จะได้ยินเสียงสื่อเพลงหรือสื่อมัลติมีเดียอื่นๆจากเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซาวด์การ์ดคุณก็ไม่สามารถที่จะได้ยินเสียงหรือเปิดเพลงฟังได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเองโดย Sound Card แบบแยกนั้นจะมีประสิทธิภาพที่สูงกว่าซาวด์การ์ดที่มาพร้อมกับตัวเครื่องหรือ Sound Card ที่มาพร้อมกับเมนบอร์ดของเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทำให้ในปัจจุบันนี้มีความนิยมในการใช้งานซาวด์การ์ดแบบแยกซึ่งใช้งานพอร์ตการเชื่อมต่อแบบ USB การเพิ่มมากยิ่งขึ้น
Sound Card ทำงานอย่างไร?
Sound Card นั้นเป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่จะใช้ในการถอดรหัสคลื่นสัญญาณได้ทั้งการถอดรหัสจากสัญญาณอะนาลอกให้เป็นดิจิตอล และ ดิจิตอลให้เป็น analog ซึ่งจะทำให้คุณนั้นสามารถที่จะทำการเข้ารหัสเสียงเพื่อไปใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้และมีการถอดรหัสเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะแปลงให้เป็นเสียงออกทางลำโพงได้นั่นเองโดยจะมีการใช้งานชิปประมวลผลซึ่งเป็นไมโครชิปขนาดเล็กที่ใช้ในการประมวลผลเหมือนกับโปรเซสเซอร์หรือ CPU ของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ชิพประเภทนี้จะใช้ในการประมวลผลทางด้านเสียงโดยเฉพาะนั่นเองโดยคลิปที่อยู่บน Sound Card นั้นจะมี 2 แบบได้แก่แบบ Digital to Analog Converter หรือ DAC และ Analog to Digital Converter อยู่ภายในตัวชิปที่จะใช้ในการถอดรหัสและเข้ารหัสต่างๆ
ข้อแตกต่างระหว่าง Sound Card แบบภายในและ Sound Card แบบแยกมีอะไรบ้าง ?
Sound Card แบบภายในนั้นจะเป็น Sound Card ที่มาพร้อมกับเมนบอร์ดของตัวอุปกรณ์ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์หรือโน๊ตบุ๊คซึ่งจะมีการใช้งานชิปในการประมวลผลเสียงที่มีคุณภาพที่ดีในระดับหนึ่งแต่ยังมีคุณภาพด้อยกว่า Sound Card แบบภายนอกซึ่งมีการใช้งานชิปประมวลผลที่มีประสิทธิภาพที่สูงกว่าและให้เสียงที่คมชัดกว่ารวมถึงคุณภาพของเสียงที่ดีกว่านั่นเอง
Sound Card นั้นส่งผลโดยตรงกับคุณภาพของเสียงหรือไม่ ? คุณภาพของเสียงนั้นขึ้นอยู่กับ Sound Card อย่างแน่นอนโดยคิดที่ใช้ในการประมวลผลเสียงนั้นจะให้คุณภาพของเสียงที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความเร็วในการประมวลผลของชิปและคุณสมบัติต่างๆของชิปในการประมวลผลยิ่งตัวชิปประมวลผลนั้นมีประสิทธิภาพสูงก็จะให้เสียงที่มีมิติมากยิ่งขึ้นให้คุณภาพของเสียงที่ดีมากยิ่งขึ้นด้วย
โดยในปัจจุบันนี้มีซาวการ์ดแบบ USB วางขายมากมายหลายรุ่นหลายยี่ห้อให้คุณได้เลือกใช้งานซึ่งอาจจะทำให้คุณนั้นสงสัยว่าแล้วควรที่จะเลือกซื้อ Sound Card USB แบบไหนรุ่นไหนยี่ห้อไหนดีถึงจะช่วยให้คุณนั้นสามารถที่จะใช้งานได้ดีที่สุดและเต็มประสิทธิภาพมากที่สุดดังนั้นวันนี้เราจึงได้รวบรวมเอาสิ่งที่คุณควรจะพิจารณาก่อนที่จะเลือกซื้อ Sound Card แบบ USB มาใช้งานเพื่อที่จะช่วยให้คุณนั้นสามารถที่จะนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อ Sound Card แบบ USB ที่ดีที่สุดเหมาะกับการใช้งานของคุณมากที่สุด
แนะนํา Sound Card USB รุ่นไหน ยี่ห้อไหนดี
#1.เครื่องCreative Sound Blaster X3 External Sound Card
Creative Sound Blaster X3 ซาวด์การ์ด DAC/AMP แบบ External Sound Blaster X3 ซาวด์การ์ด DAC/AMP แบบ external ตัวแรกที่มาพร้อมกับเทคโนโลยี Super X-Fi® Sound Blaster X3 ซาวด์การ์ด และ DAC/Amp แบบ USB ระดับ Hi-res รองรับ 7.1 แชนแนล แท้ พร้อมด้วยเทคโนโลยี และชิบเช็ต Super X-Fi® เติมเต็มประสิทธิภาพสำหรับความบันเทิงบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ของคุณ X3 มาพร้อมกับฟีเจอร์อัดแน่น ที่จะมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดในการรับชมภาพยนต์ภายในบ้าน ไม่ว่าจะรับฟังจากชุดหูฟัง.
จุดเด่นของ Sound Card รุ่นนี้
1.เป็น Sound Card ประสิทธิภาพสูงที่รองรับเสียง 7.1 Channel แท้
2.ใช้ชิปประมวลผลประสิทธิภาพสูง
3.ให้เสียงที่มีมิติ
จุดด้อยของ Sound Card รุ่นนี้
1. รุ่นนี้มีราคาที่ค่อนข้างแพงพอสมควร
#2.Creative BlasterX G1 USB Sound Card 7.1 ซาวด์การ์ด
Creative BlasterX G5 ในรูปแบบพกพา รองรับการจำลองเสียงจากสัญญาณเสียงอินพุท ในรูปแบบ 7.1 แชนแนล สร้างความสมจริงรอบทิศทางผ่านการประมวลจาก BlasterX Acoustic Engine Pro ที่จะถ่ายทอดเสียงเอฟเฟ็คในเกมส์ และเน้นความชัดเจนของเสียงในเกมส์ที่มีความสำคัญต่อการเล่นหรือการวางแผน ในรูปแบบที่เสมือนจริงอย่างมากผ่านชุดหูฟัง.
รองรับระบบเสียงแบบ Native 7.1 Surround Sound ดื่มด่ำไปกับออดิโอสำหรับการเล่นเกมส์ที่สมจริงแบบ 3D รองรับการใช้งานผ่านเครื่องเล่น Console(PlayStation4,XBoxOne) BlasterX Acoustic Engine Pro โปรแกรมสำหรับการตั้งค่าควบคุมทางด้านเสียง *(สำหรับ PC) เฮดโฟนแอมปริไฟเออร์ในระดับออดิโอเกรด
ขุมพลังออดิโอจากหน่วยประมวลผล SB-Axx1 ปุ่มปรับระดับเสียงไฟเรืองแสงพร้อมไฟแสดงสถานะของระดับเสียง.
จุดเด่นของ Sound Card รุ่นนี้
1.รองรับเสียง 7.1 Channel
2. มีราคาที่ไม่แพง
3.ให้เสียงที่มีคุณภาพดี
จุดด้อยของ Sound Card รุ่นนี้
1.สายเคเบิ้ลสั้นเกินไป
2.วัสดุภายนอกเป็นพลาสติก
#3. Creative Sound Blaster K3+ External Sound Card
USB Interface ใช้เป็นการ์ดเสียงได้ ใช้งานแบบ Plug and Play มี 6 โหมดใช้งานสำเร็จรูปในตัว การเชื่อมต่อหลากหลายครบครัน
บนพอร์ตเชื่อมต่อของ Creative Sound Blaster K3+ External Sound Card นั้นจะประกอบไปด้วย XLR /TRS Inputs 2 ตัว Headphone Output 6.3 มม. 2 ตัว Input 6.3 มม. 1 ตัว RCA Line In และ Out อย่างละคู่ ช่องเชื่อมต่อ AUX 4-pole สำหรับเชื่อมต่อมือถือและ Tablet ปิดท้ายด้วยช่อง Micro USB สำหรับจ่ายพลังงานนั่นเอง โดย Sound Blaster K3+ นั้นรองรับการเชื่อมต่อกับ Mixer ตัวอื่น ๆ และกีต้าร์ที่มี Impendence สูงได้
การใช้งานของเจ้า การ์ดเสียง Creative Sound Blaster K3+ External Sound Card ตัวนี้จะเป็นแบบ Plug and Play สามารถใช้งานฟังก์ชั่นพื้นฐานบนตัวการ์ดเสียงได้ทันทีหลังการลงไดรเวอร์อัตโนมัติของมัน และรองรับการใช้งานร่วมกับ Software ผลิตเสียงอื่น ๆ แต่ไม่ได้มี Software เฉพาะตัวจาก Creative สำหรับตัวมันเอง ส่วนคุณภาพเสียงที่เจ้าการ์ดเสียง Creative ตัวนี้สามารถบันทึกได้ก็อยู่ในระดับ Hi-res HD ที่ 24-bit 96kHz เพียงพอต่อการทำงาน Vlog หรืออัดเพลงลง Youtube และถือว่าเหลือเฟือสำหรับงาน Live Streaming และจัดรายการ ถือว่าเป็นการ์ดเสียงสาย Production ที่คุ้มค่ามากทีเดียว.
จุดเด่นของ Sound Card รุ่นนี้
1.รองรับการเชื่อมต่อที่หลากหลาย
2.สามารถควบคุมได้อย่างง่ายดายด้วยปุ่มตั้งค่า
3.รองรับการเชื่อมต่อกับมิกเซอร์ตัวอื่น
จุดด้อยของ Sound Card รุ่นนี้
1. รุ่นนี้มีราคาที่ค่อนข้างแพง
2.มีขนาดที่ใหญ่
3.รองรับเสียง 2 channels
สิ่งที่ควรพิจารณาก่อนที่จะเลือกซื้อ Sound Card แบบ USB มาใช้งาน
1.ความเข้ากันได้ของอุปกรณ์
Sound Card ที่คุณจะเลือกซื้อนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสามารถที่จะใช้งานร่วมกับเครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของคุณได้โดยที่ไม่มีปัญหาโดยจะต้องรองรับมาตรฐานในการเชื่อมต่อต่างๆอย่างเช่นการเชื่อมต่อ USB เวอร์ชั่นต่างๆอย่างเช่น Sound Card บางรุ่นนั้นจะรองรับการเชื่อมต่อเพียงมาตรฐานการเชื่อมต่อ USB 2.0 หรือ 3.0 เท่านั้นไม่สามารถที่จะใช้งานร่วมกับ USB ที่มีเวอร์ชั่นต่ำกว่านี้ได้หรือ Sound Card USB บางรุ่นจะรองรับการใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ PC เท่านั้นแต่ไม่สามารถที่จะใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ Mac แท็บเล็ตหรือไอแพดได้นั่นเองดังนั้นก่อนที่จะเลือกซื้อคนจะเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูรายละเอียดของซาวด์การ์ดแต่ละตัวให้ดีว่าสามารถที่จะใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ของคุณได้หรือไม่
2.จำนวน Chanels หรือช่องสัญญาณของเสียงของ Sound Card
Channel ของช่องสัญญาณเสียงของ Sound Card จะมีมาให้เลือกแบบที่เป็น 2 channel 5.1 Channel และ 7.1 Channel ให้คุณได้เลือกใช้งานซึ่งในการใช้งานนั้นคุณจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเลือกซื้อให้เหมาะสมกับความต้องการในการใช้งานของคุณโดยเสียงแบบ 2 ชั้นแนวนั้นจะให้เสียงแยกซ้ายขวาเท่านั้นเหมือนกับการใช้งานซาวด์การ์ดดั้งเดิมที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณแต่ช่องสัญญาณเสียงแบบ 5.1 Channel นั้นจะให้เสียงรอบทิศทางแบบ 5.1 ซึ่งจะมีตัวลำโพงซับวูฟเฟอร์อยู่ด้านหน้า 1 ตัวชั้น L ซ้ายขวาและชั้น L ที่อยู่ด้านหลังซ้ายหลังขวา 2 ตัวจึงรวมเป็น 5.1 Channel แต่สำหรับ Sound Card แบบ 7.1 Channel นั้นจะเป็น Sound Card ที่มีจำนวนช่องที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นมีเสียงที่รอบตัวมากยิ่งขึ้นจึงเหมาะสำหรับใช้ในการเล่นเกมที่ต้องการทิศทางของเสียงในการเล่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกมแบบ fps ที่ต้องการความสมจริงและมิติของเสียงรอบทิศทาง
3.ค่า Sample Rate
ถ้า Sample Rate นั้นหมายถึงคุณภาพของเสียงที่จะได้จาก Sound Card ซึ่งจะมีการส่งสัญญาณเสียงออกมาจากตัวอุปกรณ์ Sound Card โดยจะมีค่าหน่วยเป็นค่า khz ซึ่งค่านี้ยิ่งมีค่ามากก็จะหมายถึงคุณภาพของเสียงที่มีมากยิ่งขึ้นตามฆ่าของ Sample Rate ของ Sound Card.
4. คุณภาพเสียงที่ได้
ตัว Sound Card นั้นถึงแม้ว่าจะมีการโฆษณาจากทางผู้ขายหรือผู้ผลิตว่ามีการใช้ชิปคุณภาพสูงก็ตามแต่เมื่อนำมาใช้งานจริงแล้วถ้าคุณภาพของเสียงนั้นไม่มีความคมชัดและได้คุณภาพตามที่โฆษณาเอาไว้ก็ไม่มีประโยชน์ดังนั้นในการเลือกซื้อมาใช้งานคุณจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการตรวจสอบคุณภาพของเสียงที่ได้จาก Sound Card แบบ USB ว่ามีคุณภาพเสียงที่ เพียงพอต่อการใช้งานของคุณหรือไม่
5.ระดับราคาที่เหมาะสม
คุณควรที่จะเลือกซื้อ Sound Card ที่มีระดับราคาที่เหมาะสมไม่ถูกหรือแพงมากจนเกินไปโดยพิจารณาจากวัสดุและอุปกรณ์ที่นำมาใช้ทำในการประกอบเป็นตัว Sound Card ว่ามีคุณภาพดีเพียงพอต่อการใช้งานหรือไม่หรือมีคุณภาพของตัวอุปกรณ์นั้นเหมาะสมกับระดับราคาหรือไม่ไม่ควรเลือกซื้อ Sound Card ที่มีราคาถูกมากจนเกินไปเนื่องจากว่าจะมีการใช้งานวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆที่ไม่ได้คุณภาพซึ่งอาจจะทำให้ตัว Sound Card และไม่สามารถที่จะทำงานได้ตามที่คุณได้คาดหวังไว้และไม่เกิดความคุ้มค่าในการใช้งาน
6.การรับประกันและการบริการหลังการขาย
Sound Card ที่คุณจะเลือกซื้อนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการรับประกันจากผู้ขายหรือผู้ผลิตอย่างน้อย 1-3 เดือนเพื่อช่วยให้คุณมั่นใจในคุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงานของตัวเครื่องในกรณีที่เกิดปัญหาขณะที่ใช้งานนั้นอาจจะทำให้คุณไม่สามารถที่จะใช้งานได้คุณสามารถที่จะทำการติดต่อผู้ขายหรือผู้ผลิตเพื่อทำการสับเปลี่ยนหรือซ่อมแซมให้กลับมาใช้งานได้ดังเดิมเพื่อที่จะช่วยให้คุณมั่นใจในคุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงานของตัวอุปกรณ์
สรุป Sound Card แบบ USB นั้นเป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อที่ช่วยให้คุณสามารถที่จะทำการใช้งานการประมวลผลเสียงที่มีคุณภาพดีเพิ่มมากยิ่งขึ้นซึ่งมีมากมายหลากหลายปัจจัยที่คุณควรจะพิจารณาไม่ว่าจะเป็นความเข้ากันได้กับอุปกรณ์ของคุณจำนวน Chanel ที่ Sound Card รองรับซึ่งคุณจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการในการใช้งานของคุณถ้าสัมภเวสีคุณภาพเสียงที่จะต้องดีมีระดับราคาที่เหมาะสมและสิ่งที่มองข้ามไม่ได้นั่นก็คือการรับประกันและการบริการหลังการขายจากทางผู้ขายหรือผู้ผลิตที่จะต้องมีอย่างน้อย 1-3 เดือน